DataLyzer FMEA Software Features

เรียนรู้ฟังก์ชั่นการทำงานของ DataLyzer FMEA Software 1.Introduction to DataLyzer FMEA 2.Global Preferences 3.Team Member, User and Authorization 4.Define Column Templates 5.Define Column Headers 6.Classification and Criticality Matrix 7.Import from Excel File 8.New FMEA Document 9.FMEA Adoption

5 เหตุผลดีดีที่องค์กรควรดำเนินโครงการ Six Sigma

5 เหตุผลดีดีที่องค์กรควรดำเนินโครงการ Six Sigma ลดต้นทุนของเสีย ด้วยแนวคิดมุ่งไปที่การค้นหารากของปัญหา และดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยมุ่งเป้าหมายที่การลดความผันแปรของกระบวนการ ทำให้สามารถลดของเสียและส่งผลในด้านตัวเงินทางบัญชีที่ประหยัดได้ ลดเวลาในการทำโปรเจกต์ได้ เพราะจะต้องเขียนเป้าหมาย การใช้ทรัพยากร ผลลัพธ์ที่คุ้มค่า และระยะเวลาในการดำเนินโปรเจกต์ที่ชัดเจน เมื่อควบคุมเวลาได้ทำให้ลดเวลาในการทำโปรเจกต์ได้ สร้างวัฒนธรรมองค์กรถึงการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ส่งผลลัพธ์ที่ดีทั้งในส่วนบริหารและพนักงานระดับปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝนทักษะ สร้างความสามารถในการแข่งขันให้กับองค์กร การดำเนินการ Six Sigma เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง หากดำเนินการอย่างมีรูปแบบชัดเจน นำเสนอผลลัพธ์ได้อย่างชัดเจน สามารถสร้างความน่าเชื่อถือให้กับองค์กรได้ สามารถนำไปใช้เป็นกลยุทธ์องค์กรได้ รวมถึงสร้างแจงจูงใจให้กับพนักงานได้                                    

MSA คืออะไร?

MSA (Measurement Systems Analysis) คืออะไร? ข้อผิดพลาดจากระบบการวัดอาจส่งผลกระทบอย่างมากในการวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือวัด,การตรวจทดสอบของช่างเทคนิคและฟิกเจอร์ ทั้งหมดนี้ทำให้เกิดระบบการวัด ส่วนประกอบเหล่านี้สามารถนำไปสู่ความผันแปรที่เกิดในระบบการวัดได้ทั้งนั้น ความผันแปรนี้ในระบบการวัดคือสิ่งที่จะสะท้อนแยกเป็นส่วนหนึ่งของความผันแปรโดยรวมทั้งหมดในการวิเคราะห์ SPC และไม่ส่งผลดีกับค่าสถิติที่อธิบายคุณภาพ เช่น Cp, Cpk, Pp, Ppk เป็นต้น โดยธรรมชาติทุกกระบวนการจะมีความผันแปรนี้แฝงอยู่ แหล่งความผันแปรเชื่อมโยงไปถึงลักษณะทางกลศาตร์ของกระบวนการกับวัตถุดิบและเสถียรภาพของคนทำงาน อย่างไรก็ตามก็เป็นไปได้ที่ความผันแปรจะมาจากกระบวนการวัดที่ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทำให้ความผันแปรทั้งหมดของกระบวนการเกิดเป็นความผันแปรผิดธรรมชาติ ความผันแปรนี้จะวิเคราะห์ด้วยกระบวนการ MSA ซึ่งเป็นขั้นตอนสำคัญในการประยุกต์ใช้การควบคุมคุณภาพในทุกๆส่วน ความผันแปรแยกประเภทได้ดังนี้: ความแม่นยำ Repeatability – ความสามารถในการวัดซ้ำของคนวัดหรืออุปกรณ์วัด Reproducibility – ความสามารถในการวัดซ้ำระหว่างคนวัดหรือระหว่างเครื่องมือวัด ความเที่ยงตรง Stability – ความเที่ยงตรงเมื่อเวลาผ่านไป ; Linearity – ความเที่ยงตรงเมื่อเปลี่ยนย่านวัด ; Resolution – ความละเอียดเครื่องมือวัด ; Bias – ค่าที่ต่างไปจากค่าจริง การศึกษา Gage R&R จะวิเคราะห์ Repeatability และ Reproducibility … Read more

SPC – Lesson 10 : Process capability

Lesson 10 : Process capability An important part of any SPC implementation is the use of process capability indices. There are several capability indices Cp, Cpk, Ppk, Cpm, NCpk. In this lesson we explain the most common used indices Cp, Cpk, Pp and Ppk. There is some confusion about the use of these indices. In … Read more

SPC – Lesson 9 : Attribute control charts with low average

Lesson 9: Attribute control charts with low average We are now going to look at a particular problem you can encounter with attribute control charts.We will generate four streams of data from a process and create a special cause of variation in each data stream. Now we will look at control charts for all four … Read more

SPC – Lesson 8 : Scatter chart

Lesson 8: Scatter chart When we want to reduce or eliminate a problem, we will need to come up with ideas or theories about what is causing the problem. One way to check if a theory should be taken seriously is to use a scatter chart, also called regression analysis. To use a scatter chart, we first … Read more

SPC – Lesson 7 : Pareto chart

Lesson 7: Pareto chart A Pareto chart helps us to identify priorities for tackling problems. The Pareto principle (named after a 19th century Italian economist) states that 80% of defects or problems usually arise from about 20% of the causes. Let’s look at data from an imaginary process. The columns in the table represent 10 … Read more

SPC – Lesson 5 : Binomial control charts

Lesson 5: Binomial control charts In lesson 2 we looked at Xbar and Range control charts. In lesson 4 the X (individual value) chart was introduced. In both these cases, we used variable or measurement data. This is data which comes from a continuous scale. There is a different type of data called “attribute” data. Attribute data … Read more

SPC – Lesson 4 : Power of control charts to detect instability

Lesson 4: Power of control charts to detect instability In lesson 2, we used a section of data to calculate control limits for a process. In that example, the process was stable in the early stages and we used data from that period to calculate the control limits. In this lesson we are going to … Read more