SPC – Lesson 3 : Histograms and distributions

ยทที่ 3: ฮีสโตแกรม(Histograms) และการแจกแจง(Distributions) A histogram is a way of showing a set of measurements as a picture. ฮีสโตแกรมเป็นแนวทางหนึ่งของการแสดงถึงชุดของค่าวัดในรูปแบบของภาพ Let’s fire some balls from the tennis ball simulation and then look at a histogram of the landing positions. เรามายิงลูกบอลจากการจำลองเครื่องยิงลูกเทนนิสและจากนั้นดูที่ฮีสโตแกรมของตำแหน่งลูกบอลตก In this histogram, the measurements are the landing positions of the balls from the launcher simulation. … Read more

SPC – Lesson 2 : Xbar & Range Control Chart

บทที่ 2: แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและพิสัย (Xbar & Range Control Charts) In lesson 1 we discovered why we need control charts. Now we are going to learn how to draw the control charts. We use different types of control charts for different types of data. Data can be divided into two major categories, variables and attributes. ในบทที่ 1 … Read more

SPC – Lesson 1 : Variation and Control charts

Lesson 1: ความผันแปรและแผนภูมิควบคุม (Variation and Control charts) One of the most important names in the history of statistical process control is Deming as explained above. Deming used a famous simulation to explain the principles of variation called: The red bead experiment. While explaining the principles of variation we like to honor Deming by using his … Read more

SPC – Lesson 0 : Introduction to SPC

บทนำ : แนะนำ SPC และนิยามศัพท์ แนะนำการควบคุมกระบวนการด้วยหลักการทางสถิติ(Statistical Process Control : SPC) และเว็บไซต์นี้ แนะนำการควบคุมกระบวนการด้วยหลักการทางสถิติ(Statistical Process Control : SPC) และเว็บไซต์นี้ Introduction to Statistical Process Control (SPC) and this website แนะนำการควบคุมกระบวนการด้วยหลักการทางสถิติ(Statistical Process Control : SPC) และเว็บไซต์นี้ Statistical Process Control is a combination of techniques aimed at continually improving production processes so that the customer may depend on the uniformity … Read more

Is Excel the right tool for FMEA ?

Excel เป็นเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับ FMEA หรือไม่? บทนำ โดยส่วนใหญ่เวลาที่เริ่มต้นทำ FMEA พวกเขาจะหันไปใช้ Excel สร้างเป็นเทมเพลตขึ้นมาทันที ทีเรามองเห็นบนชีทคือเทมเพลตของ FMEA และการคำนวณค่า RPN ก็สามารถทำได้ มันเป็นตรรกะในอดีตที่ผ่านมาเราจะนึกถึง Excel ในการจัดทำเอกสาร อย่างไรก็ตามถ้าคุณมองลึกลงไปอีกนิดและคุณต้องสร้าง FMEA มากกว่าสองสามตัว Excel ไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สุดอย่างแน่นอน ในบทความนี้ได้อธิบายข้อดีและข้อเสียของการใช้ Excel ในการทำเอกสาร FMEA ของคุณ โครงสร้างความสัมพันธ์เอกสาร FMEA มันมีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดจากการใช้เทมเพลต FMEA แบบธรรมดา, เทมเพลต FMEA มีโครงสร้างความสัมพันธ์กันหลายจุดมากกว่าเป็นแค่ตารางบนชีทธรรมดา รูป 1 : โครงสร้างความสัมพันธ์ของโครงร่างการทำเอกสาร FMEA รูป 2 : โครงสร้างความสัมพันธ์แสดงในมุมมองของตารางบนชีท โครงสร้างที่จำเป็นในการสร้างเอกสาร FMEA นั้นเข้มงวดมาก หนึ่งกระบวนการ(Process)มีความต้องการ(Requirement)หนึ่งหรือมากกว่า, หนึ่งความต้องการ(Requirement) มีความล้มเหลว(Failure)หนึ่งหรือมากกว่า เป็นต้น ดังนั้นถ้าคนไหนเลือกใช้ Excel ในการสร้างเอกสาร … Read more

Calibration and Measurement Systems Analysis

การสอบเทียบและวิเคราะห์ระบบการวัด (Calibration and Measurement Systems Analysis) แนวทางนำไปสู่ภาคปฏิบัติ การวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า (Advance Product Quality Planning : APQP) กำลังเป็นมาตรฐานที่ต้องปฏิบัติในอีกหลายๆอุตสาหกรรม  กราฟ(ด้านขวา)คุณจะได้เห็นขั้นตอนและข้อกำหนดสำหรับอุตสาหกรรมอากาศยาน(Aerospace) แต่ภาพก็จะคล้ายๆกันนี้กับอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมอื่นๆ ขั้นตอนสำคัญที่มักจะมองข้ามคือ ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบการวัด (MSA) โดยหลักการแล้วมันเป็นขั้นตอนที่ง่ายๆมากๆและเป็นขั้นเป็นตอนอยู่แล้ว การข้ามขั้นตอนนี้ไปอาจทำให้เกิดความผิดพลาดอันแสนแพงและเสียเวลาในการวิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริงด้วย เราไม่ได้บอกว่าการแก้ปัญหาเรื่องระบบการวัดเป็นเรื่องง่าย เพียงแค่จะบอกว่าการตรวจสอบถ้าระบบการวัดนั้นไมได้ซับซ้อนหรือมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสูงแต่อย่างใด บทความนี้ DataLyzer จะให้คำแนะนำสั้นๆเกี่ยวกับการสอบเทียบและการวิเคราะห์ระบบการวัด และให้แนวทางบางอย่างเกี่ยวกับการสอบเทียบและการวิเคราะห์ระบบการวัดที่คุณสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างไม่ยาก การสอบเทียบ CALIBRATION ก่อนที่เราจะเริ่มทำการวัดหรือศึกษาระบบการวัด เราจะต้องทำการสอบเทียบระบบการวัดซึ่งกระบวนการสอบเทียบมี 2 วัตถุประสงค์: เพื่อให้มั่นใจว่าระบบการวัดมีความเหมาะสมเพียงพอที่จะทำการวัดในอนาคต เพื่อประเมิน่าถ้าการวัดในอดีตที่ผ่านยังคงถูกต้อง(เกิด bias หรือไม่) ค่าใช้จ่ายในการสอบเทียบอาจสูงหากวัตถุประสงค์ของการสอบเทียบเป็นเพียงเพื่อให้แน่ใจว่าการวัดในอนาคตนั้นใช้ได้ ซึ่งจากนั้นเราอาจจะต้องใช้เครื่องมือวัดใหม่แทนการสอบเทียบเครื่องมือวัดที่มีอยู่เดิมก็ได้ แต่อย่างไรก็ตามการสอบเทียบยังต้องมีอยู่เพื่อให้ความมั่นใจว่าการวัดในอดีตน่าเชื่อถือและเป็นการอธิบายไปถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกไปนั้นถูกต้อง ตามหลักการแล้วข้อมูลการสอบเทียบจะถูกเก็บไว้ในระบบฐานข้อมูลซึ่งรวมเข้ากับระบบควบคุมคุณภาพหรือระบบ SPC เช่น DataLyzer ดังนั้นเมื่อใดก็ตามที่มีการวัดค่าจึงสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ว่าเกจผ่านการสอบเทียบแล้วหรือไม่และหากการสอบเทียบไม่ผ่านเราสามารถดูค่าวัดในอดีตที่เราสงสัยได้ทันที ค่าใช้จ่ายในการสอบเทียบอาจสูงแต่ค่าใช้จ่ายของการอธิบายไปถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์และไปปฏิเสธผลิตภัณฑ์ดีหรือส่งผลิตภัณฑ์เสียออกไปนั้นสูงกว่ามาก การวิเคราะห์ระบบการวัด (MEASUREMENT SYSTEMS ANALYSIS) ถ้าคุณใช้การสอบเทียบเกจ(bias ที่มียอมรับได้) ไม่ได้หมายความว่าเราจะได้ค่าวัดที่ถูกต้องเสมอไป ถ้าเราวัดชิ้นงานเดิมหลายๆครั้งเราพบว่าค่าที่ได้ไม่เหมือนกันเราเรียกความแตกต่างหรือความผันแปรนี้ว่า … Read more

10 คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับ Six Sigma

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับ Six Sigma รวบรวมคำถามที่ลูกค้าของเราถามและคิดว่าเป็นประโยชน์ ตอบโดยอาจารย์ปรัชญา วิทยากร Six Sigma ทำไมองค์กรถึงต้องทำ Six Sigma, ทำแล้วได้อะไร (เวลา 00:22) ใครควรเรียนบ้าง (01:46) ถ้าไม่อยู่ในสายงานการผลิต Engineer, QA และ QC เรียนได้ไหม (03:46) กำลังเป็นนักศึกษาสามารถเรียนได้ไหม (04:35) Green Belt และ Black Belt ต่างกันอย่างไร (06:17) การทำ Six Sigma, Lean, Lean Six  Sigma ต่างกันอย่างไร (07:44) การเรียน Six Sigma จำเป็นต้องทำโปรเจคหรือไม่ (13:28) ในการเรียน Six Sigma ต้องใช้ซอฟต์แวร์หรือไม่ ถ้าผู้เรียนไม่ต้องทำอย่างไร (15:15) ถ้าองค์กรส่งมาเรียนคนเดียวจะเป็นผลดีหรือไม่ (17:42) การเรียน … Read more

แนะนำการใช้งานระบบ

แนะนำการใช้งานระบบ ขั้นตอนการลงทะเบียน (์New User) ​ 1. เมื่อต้องการลงทะเบียนเพื่อใช้งานระบบให้คลิ้กที่ปุ่ม Register  2. ป้อนข้อมูลที่ระบบต้องการประกอบด้วย Username(ห้ามซ้ำกับที่มีอยู่ในระบบ แนะนำให้สร้าง Username ที่ไม่น่าจะมีโอกาสซ้ำกับใช้)  3. คลิ้กปุ่ม Register ถ้าหากข้อมูลครบถ้วน จะขึ้นข้อความว่า “Registration complete. Please check your email” กรณีที โดยสามารถป้อน username หรือ e-mail address และ password ได้เลย 4. เช็คอีเมลล์ที่ใช้ลงทะเบียน จดหมายจะมีข้อความตามภาพ แสดงว่าการลงทะเบียนของคุณสำเร็จแล้ว กรณีที่ไม่ต้องการเปลี่ยน password ไม่ต้องคลิ้กลิงก์ใดๆในอีเมลล์  ขั้นตอนการลงทะเบียน (Registered User) 1. คลิ้กปุ่ม Login ป้อน username หรือ e-mail address และ password  2. เมื่อ … Read more